จิตวิทยาการแนะแนว 

ผศ. ดร. ทศพร ประเสริฐสุข

ความหมายของการแนะแนว

การแนะแนว หมายถึง กระบวนการทางการศึกษาที่ช่วยให้ บุคคลรู้จัก และเข้าใจตนเองและสิ่งแวดล้อม สามารถนำตนเองได้ แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง และพัฒนาตนเองได้ตามศักยภาพ ปฏิบัติตนให้เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม

                การแนะแนวไม่ใช่การแนะนำ อาจกล่าวได้ว่าการแนะแนวเป็นการช่วยเหลือ ให้เขาสามารถช่วยตนเองได้

 

ประเภทของการแนะแนว

1. การแนะแนวการศึกษา (Education Guidance)

2. การแนะแนวอาชีพ (Vocational Guidance)

3. การแนะแนวส่วนตัวและสังคม (Personal and Social Guidance)

บริการแนะแนว

1. บริการสำรวจนักเรียนเป็นรายบุคคล (Individual Inventory Service)

2. บริการสนเทศ (Information Service)

3. บริการให้คำปรึกษา (Counseling Service) เป็นหัวใจของการแนะแนว

4. บริการจัดวางตัวบุคคล (Placement Service)

5. บริการติดตามผล

ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

1. รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล

                ด้านความสามารถ การเรียน อื่นๆ

ด้านสุขภาพ กาย ใจ พฤติกรรม

                ด้านครอบครัว เศรษฐกิจ การคุ้มครองนักเรียน

2. การคัดกรองนักเรียน (ดูข้อมูล จัดกลุ่ม)

                ปกติ

                กลุ่มเสี่ยง

3. การส่งเสริมพัฒนาให้ได้คุณภาพ

4. การป้องกันและแก้ปัญหา

                ใกล้ชิด หาข้อมูล ให้คำปรึกษา

5. การส่งต่อ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน

แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก SDQ (The Strength and Difficulties Questionnaires)

การแนะแนวสำหรับอาจารย์และผู้บริหารสถานศึกษา

1. ความหมายของการแนะแนว

2. การแนะแนว VS การแนะนำ

3. การแนะนำ 3 ด้าน การศึกษา อาชีพ ส่วนตัว

4. บริการที่จัดในโรงเรียน 5 บริการ

5. บริการให้คำปรึกษาเป็นหัวใจของการบริการแนะแนว

6. ความหมายของการให้คำปรึกษา

7. Individual Counseling and Group Counseling

8. การเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์และการแสดงออก

9. การเข้าใจธรรมชาติของปัญหา (3 kinds of problem 7 cells)

10. จรรยาบรรณของการให้คำปรึกษา

11. ขั้นตอนในการให้คำปรึกษา

12. เทคนิคการให้คำปรึกษา และ Role Play

JSN Megazine template designed by JoomlaShine.com