การให้คำปรึกษา (Counseling)

ความหมาย

                กระบวนการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้มา ขอคำปรึกษา เพื่อให้เขาได้ใช้ความสามารถที่เขามีอยู่จัดการกับปัญหาของเขาได้ สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาได้

กระบวนการให้คำปรึกษาจะเกี่ยวข้องกับสิ่งสำคัญ 3 ประการ

1. ผู้ให้คำปรึกษา (Counselor)

2. ผู้มาขอรับคำปรึกษา (Counselee)

3. ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง Counselor และ Counselee

 

จิตวิทยาการให้คำปรึกษา ต้องพิจารณาสิ่งต่อไปนี้

1. การเข้าใจตนเอง (Counselor)

2. การเข้าใจผู้มาของรับการปรึกษา

3. การเข้าใจธรรมชาติการแสดงออกของมนุษย์ (Human interaction Model)

4. เข้าใจธรรมชาติของปัญหาและการวิเคราะห์ปัญหา

5. เข้าใจลักษณะการให้คำปรึกษา จรรยาบรรณการให้คำปรึกษา

6. ขั้นตอนการให้คำปรึกษา

7. เทคนิคการคำปรึกษา

8. ฝึกปฏิบัติ (Practicum)

 คนที่จะประสบความสำเร็จ ต้องเก่งอย่างน้อย 3 เก่ง

1. เก่งงาน (Task Ability)

คุณสมบัติของคนเก่งงาน

                1.1 ต้องมีความรู้และความชำนาญในงานนั้น

                1.2 ต้องมีความรับผิดชอบสูง

                1.3 รวดเร็ว ถูกต้อง

                1.4 มองการณ์ไกล มี Vision 

2. เก่งคน (Social Ability)

คุณสมบัติของคนเก่งคน

                2.1 เข้าใจตน เข้าใจคนอื่น

                2.2 ปรับตน ปรับคนอื่น

3. เก่งคิด (Conceptual Ability)

 

nuo

 
 

Human Approaching

U = p+c (พูดน้อย)

N = p+l+c

O = L+C (พูดมาก)

C = Concern ให้ความสำคัญ - เป็นสิ่งที่ครูควรจะปลูกฝังให้เกิดขึ้นกับตัวเด็ก

P = Persuasion ชักชวนพูดคุย หลัก พูดเรื่องของเขา, อย่าขัดคอ, คุยเรื่องที่เขาเด่น/เก่ง, คุยเรื่องแปลก

L = Listening การฟัง หลัก ตั้งใจ สนใจ ฟัง, สายตามองคู่สนทนาแต่ไม่จ้อง, แสดงอาการตอบรับ ทั้งกายและวาจา, ทวนคำ

 ชนิดของปัญหา (3 Kinds of Problems)

1. ข้อเท็จจริง (Factual Problem) เช่น ปัญหารถสตาร์ทไม่ติด

2. อารมณ์ (Emotional Problem) เช่น ปัญหาคู่สมรส

3. ผลประโยชน์ (Beneficial Problem)

ขั้นตอนของการให้คำปรึกษา

1. สร้างความคุ้นเคย (Rapport)

2. เริ่มต้นการให้คำปรึกษา (Opening the Interview)

3. การกำหนดปัญหา (Setting Problems)

4. การรวบรวมข้อมูล (Collecting Data)

5. การร่วมแก้ปัญหา (Solving the Problem)

6. ขั้นให้ข้อเสนอแนะ (Suggestion)

7. ขั้นสรุปและปิดการสนทนา (Summarization & Closed Case)

เทคนิคการให้คำปรึกษา

1. สร้างความคุ้นเคย (Rapport)

2. การถาม (Asking)

3. การฟัง (Listening)

4. การให้ความกระจ่าง (Clarification)

5. ขั้นให้ข้อเสนอแนะ (Suggestion)

6. การสะท้อนความรู้สึก (Reflection of feeling)

7. การสะท้อนเนื้อหา (Reflection of Content)

8. การสรุป (Summarization)

9. การเงียบ (Silence)

JSN Megazine template designed by JoomlaShine.com