ที่มา โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อการพัฒนา 
เรื่อง ECGInterpretation and Nursing Care
ผู้จัด คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
สถานที่ ณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
วันที่ 27-29 พฤษภาคม 2558   
ผู้สรุปประเด็นความรู้ นางสาวสุพรรณี  เปี้ยวนาลาว


ECGInterpretation and Nursing Care

 

ดูว่า EKG ตั้ง gain ตามมาตรฐานหรือไม่ คือ 1mV = 10 mm, 25 mm/sec (0.04 sec/ช่องเล็ก); ถ้า P wave และ QRS เป็น negative ใน lead I ให้สงสัยติด lead ผิด (สลับแขนซ้าย-ขวา)

Rate: ถ้า regular rate ให้เอาจำนวนช่องใหญ่ระหว่าง R wave หาร 300(หรือนับถอยหลังตามจำนวนช่องคือ 300, 150, 100, 60,…) หรือ จำนวนช่องเล็กหาร 1500; แต่ถ้า irregular rate ให้นับจำนวน R wave ใน 10 วินาทีซึ่งจะเท่ากับความยาวของกระดาษ EKG ปกติแล้วคูณด้วย 6 เป็น rate ใน 1 นาที

1. ถ้า < 60/min เรียกว่า bradycardia

2. ถ้า > 100/min เรียกว่า tachycardia

 

P wave: ชัดสุดใน lead II สูง < 2.5 กว้าง < 3 ช่อง

1. P mitrale (Left atrial enlargement, LAE) คือ P wave กว้าง > 3 ช่องพบใน mitral valve disease, Lt ventricular failure

2. P pulmonale (Right atrial enlargement, RAE) คือ P wave สูง > 2.5 ช่องพบใน pulmonary HT, pulmonary embolism (PE), pulmonary stenosis, tricuspid stenosis

 

PR interval: ปกติ 3-5 ช่อง

1. PR สั้นพบได้ใน Wolff-Parkinson-White syndrome (WPW), AV junctional rhythm (P wave หัวกลับใน lead II)

2. PR ยาวพบใน 1st AV block, digitalis toxic, acute carditis, IHD, β-blocker, congenital heart disease

3. Varying PR พบได้ใน AV Wenckebach (Mobitz type I), complete AV block, wandering pacemaker

Abnormal Q wave คือ Q wave กว้าง > 1 ช่องหรือ ลึก > ¼ ของ R wave (ปกติพบ small Q wave ได้ใน lead I, II, III, aVL, aVF, V4-V6) พบได้ใน myocardial injury, ventricular hypertrophy (LVH, RVH, HCM), LBBB, WPW

 

Axis: ปกติอยู่ระหว่าง -30o ถึง +100 o โดยดูจาก leadI และ AVF ร่วมกับ reciprocal lead

1. Right axis deviation (RAD > +90 o) พบได้ใน Normal variant (child 90-120o), dextrocardia, RV overload (pulmonary embolism, COPD, asthma, RVH), lateral wall MI, LPHB (> +120 o diagnosis by exclusion) 

2. Left axis deviation (LAD > -30o) พบได้ใน LVH, LAHB (> -45 o), LBBB, Inferior wall MI

 

QT interval: QTc ปกติ 330-440 ms; QTc = QT/square root RR = QT + 1.75(HR - 60)

1. Short QT พบได้ใน digitalis, hypercalcemia

2. Long QT พบได้ใน electrolytes (hypocalcemia, hypokalemia, hypomagnesemia), MI, CVA, AV block, hypothermia, congenital long QT syndrome

 

ST segment: ผิดปกติถ้า ST segment elevated (STE) หรือ depressed > 1 mm นับจาก J point

1. ST elevate พบได้ใน MI, acute pericarditis, cardiac trauma, ventricular aneurysm, hyperkalemia (V1-V2), LVH, LBBB

2. ST depress พบได้ใน MI (junction ของ ST กับ QRS ต่ำกว่า isoelectric line แบบ straight or horizontal 90o กับ R wave

 

 แนวทางการนำมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานที่รับผิดชอบ    

          นำความรู้มาใช้ในการเรียนการสอนในวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพ 3 ที่ฝึกปฏิบัติในหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม และหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤติอายุรกรรม ชั้น 4,5